Schedule: เปิดบริการ 24 ชั่วโมง
076 298 298, 076 609 050
พยาบาลดีเด่น ของโรงพยาบาลในเครือ BDMS ประจำปี 2563

พยาบาลดีเด่น ของโรงพยาบาลในเครือ BDMS ประจำปี 2563

ทาง BDMS Corporate Nursing ได้ตระหนักถึงความสำคัญของวิชาชีพพยาบาล เพื่อสร้างความภาคภูมิใจในวิชาชีพพยาบาล และสร้างให้เกิดขวัญและกำลังใจที่ดี จึงจัดให้มีการประกวดและคัดเลือก พยาบาลดีเด่น ของโรงพยาบาลในเครือ BDMS ประจำปี 2563 โดยได้มีการกำหนดเกณฑ์ในการคัดเลือก “พยาบาลดีเด่น” ตามมาตรฐานของ  BDMS Good Nurse Model และ  BDMS Values BDMS Good Nurse Model Nursing Research Code of Ethics Customer Focus Thai Hospitality Core Competency Communication Effectiveness Leadership Core Competency Clinical and Quality Nursing Core Competency BDMS Values B             เหนือกว่ามาตรฐาน D            […]

อ่านรายละเอียด
การฉีดวัคซีนโรคพิษสุนัขบ้า

การฉีดวัคซีนโรคพิษสุนัขบ้า

1. ข้อมูลเบื้องต้น โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคติดต่อจากสัตว์มาสู่คนที่มีอันตรายร้ายแรงที่สุด พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด สุนัขยังคงเป็นสัตว์นาโรคที่สาคัญที่สุดในประเทศไทย ในปีหนึ่งๆ มีคนถูกสุนัขกัดในประเทศไทยมากกว่า 1 ล้านคน ส่วนหนึ่งของคนที่ถูกกัดจะมารับบริการดูแลรักษาที่สถานบริการสาธารณสุข การตัดสินใจให้วัคซีนและ/หรือ อิมมูโนโกลบุลิน ป้องกันพิษสุนัขบ้าเป็นสิ่งสาคัญ เพราะถ้าหากผู้ป่วยสัมผัสโรคนี้ได้รับการดูแลรักษาไม่ถูกต้องทาให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้ การบริการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้าเป็นเรื่องละเอียดอ่อนแพทย์ต้องพิจารณาและวินิจฉัยในการสัมผัส ประวัติของสัตว์ที่สัมผัส สาเหตุที่ถูกสัตว์กัด ก่อนที่จะให้การรักษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม บาดแผลที่อยู่ตาแหน่งที่สาคัญ เช่น ใบหน้า ต้องการความรวดเร็วในการรักษาด้วย มิฉะนั้นอาจไม่ทันต่อการหยุดยั้งโรค นอกจากแพทย์ผู้ให้การรักษาจะต้องรักษาอย่างรอบคอบแล้ว ระบบการเตรียมเวชภัณฑ์วัคซีน และอิมมูโนโกลบุลิน ต้องมีความพร้อมที่จะให้บริการ หรือรู้แหล่งที่จะขอยืมมาใช้ก่อน นับว่าเป็นสิ่งจาเป็นที่จะปกป้องชีวิตคนไข้ การดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้าหรือสงสัยว่าสัมผัส การสัมผัส หมายถึง การถูกกัด ข่วน หรือน้าลายกระเด็นเข้าบาดแผลหรือผิวหนังที่มีรอยถลอก หรือถูกเลีย จมูก ตา หรือกินอาหารดิบที่ปรุงจากสัตว์ หรือผลิตภัณฑ์จากสัตว์ที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้า ผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า หมายถึง ผู้ที่สัมผัสกับสัตว์หรือผู้ป่วยที่ได้รับการพิสูจน์หรือสงสัยว่าเป็นโรคพิษสุนัขบ้า รวมถึงกรณีที่สัตว์หนีหาย และสัตว์ไม่ทราบประวัติ การวินิจฉัยภาวะเสี่ยงจากการสัมผัส หากผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้ามีบาดแผล ต้องรีบปฐมพยาบาลแผลทันทีก่อนดาเนินการขั้นอื่นๆ ต่อไป ประวัติของการสัมผัส ใช้แบบฟอร์มการซักประวัติผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า ระดับความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า ซึ่งแยกได้เป็น 3 […]

อ่านรายละเอียด
ผู้ชายวัยทอง (Andropause)

ผู้ชายวัยทอง (Andropause)

ผู้ชายวัยทอง (Andropause) ผู้ชายวัยทอง (partial androgen deficiency in aging male) (PADAM) หมายถึง ผู้ชายที่มีอายุตั้งแต่ 40 – 65 ปี ที่เข้าสู่การเปลี่ยนแปลงของระบบสืบพันธุ์ คือ การเสื่อมของอัณฑะทำให้ระดับฮอร์โมนแอนโดรเจน และเทสทอสเตอโรนค่อยๆลดลงจนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆในระบบร่างกาย และจิตใจ อาการผู้ชายวัยทอง ระบบประสาทอัตโนมัติ มีอาการร้อนวูบวาบ (hot flash) แต่เกิดในบางรายเท่านั้น และมีความรุนแรงน้อยกว่าผู้หญิงวัยทอง อาการมักเกิดประมาณ 2-3 นาที แล้วจึงค่อยๆหายไป มีอาการเหงื่อ อาการหนาวสั่น ทำให้นอนไม่หลับ ระบบหัวใจ และหลอดเลือด ผลจากระดับฮอร์โมนเทสทอสเตอโรนต่ำ ทำให้มีการเพิ่มระดับไขมันคอเลสเตอรอล แอลดีแอลคอเรสเตอรอล (LDL – cholesterol) ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) จนมีการสะสม และอุดตันหลอดเลือด หลอดเลือดแข็งตัว ไม่ยืดหยุ่น เลือดไหลผ่านได้น้อยลง ระบบกล้ามเนื้อ และกระดูก กล้ามเนื้อทั่วร่างกายมีลักษณะลีบ และเล็กลง อ่อนเพลียง่าย […]

อ่านรายละเอียด
ผู้หญิงวัยทอง

ผู้หญิงวัยทอง หรือ วัยหมดประจำเดือน (Menopause)

ผู้หญิงวัยทอง หรือ วัยหมดประจำเดือน (Menopause) “วัยทอง” หมายถึง วัยของผู้หญิงและผู้ชายที่มีอายุในช่วง 40-59 ปี ซึ่งอยู่ระหว่างวัยเจริญพันธุ์และวัยผู้สูงอายุ เป็นวัยที่ความสามารถในการผลิตฮอร์โมนเพศลดน้อยลงจนเกิดการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย และมีโอกาสเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพได้ง่าย เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคกระดูกพรุน โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เป็นต้น “สตรีวัยทอง” หรือสตรีวัยหมดประจำเดือน หรือวัยหมดระดู หมายถึง สตรีในวัย 40 – 59 ปี ที่มีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลงเนื่องจากรังไข่หยุดทำงาน ซึ่งทำให้สิ้นสุดการมีประจำเดือนอย่างถาวรร่วมด้วยกับการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาตามมา แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนหมดประจำเดือน (perimenopause) เป็นระยะเริ่มของการหมดประจำเดือนทำให้สตรีมีประจำเดือนมาผิดปกติ ร่วมกับมีอาการทางร่างกาย เช่น ร้อนวูบวาบ มึนศีรษะ อ่อนเพลีย อารมณ์จะแปรปรวน ซึ่งระยะนี้จะเกิดประมาณ 2-3 ปี ระยะหมดประจำเดือน (menopause) เป็นระยะที่เริ่มตั้งแต่การหมดประจำเดือนมาแล้วเป็นเวลา 1 ปี ระยะหลังหมดประจำเดือน (postmenopause) เป็นระยะที่เริ่มตั้งแต่หลังหมดประจำเดือนมาแล้ว 1 ปี […]

อ่านรายละเอียด
ลดหวาน ลดโรค ทำได้อย่างไร ?

ลดหวาน ลดโรค ทำได้อย่างไร ?

ทานอาหารหวาน มานาน รู้สึกติด เลิกยาก ถ้าไม่ได้ทานจะรู้สึกหงุดอ่อนเพลีย ไม่มีแรง ทำอย่างไร ดื่มน้ำเปล่าเยอะๆ หรือ ชา เครื่องดื่มสมุนไพร ไม่ใส่น้ำตาล ดื่มอย่างน้อย 8 แก้ว/วัน ช่วยกำจัดของเสีย ให้ความชุ่มชื้นกับ เซล ค่อยๆลดน้ำตาลลงทีละนิดเพื่อให้ลิ้นปรับสภาพ บ้วนปาก /แปลงฟันทุกครั้งหลังทานอาหาร ทาน ผักผลไม้แทนของหวาน น้ำตาลฟรุกโทส กลูโคส ทำให้รู้สึกสดชื่น มีเกลือแร่ วิตามิน ไฟเบอร์ทำให้อยู่ท้อง อิ่มนาน ลดความหิวและทานแป้งได้น้อยลง อ่านฉลากทุกครั้ง น้ำตาล น้ำผึ้ง คอรนไซรับ เมเปิลไซรับ แลคโตส กลูโคส ซูโคส เด็กโตส ทานอาหาร 3 มื้อให้ตรงเวลา ลดการทาน แป้งและคาร์โบไฮเดรต เพิ่มสัดส่วน ผักและโปรตีน เก็บของหวานไว้ไกลตัว ไม่ควรซื้อมาเก็บไว้ในบ้าน เวลา ทานอาหารหวานภายใน 30 นาทีหลังออกกำลังกาย ช่วงนี้ร่างกายจะย่อยน้ำตาลได้ดีที่สุด ทานโปรตีนช่วยเสริมสร้างกล้ามเนื้อ […]

อ่านรายละเอียด

ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์

ทุกปัญหาด้านสุขภาพเราช่วยคุณได้...กรุณาอย่าลังเลที่จะปรึกษาทีมผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ของเรา